ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วิธีการไปยัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ Pathum Wan โดย รถบัส หรือ รถไฟใต้ดิน?

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Pathum Wan, บนแผนที่

ทิศทางไปยัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Pathum Wan) ด้วยขนส่งสาธารณะ

สายต่อไปนี้ มีเส้นทางที่ผ่านใกล้ๆ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • รถไฟใต้ดินรถไฟใต้ดิน:
  • รถบัสรถบัส:

วิธีการเดินทางไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย รถบัส?

คลิกที่สาย รถบัส เพื่อดูวิธีการเดินทางเป็นขั้นตอนพร้อมแผนที่ สายรถ เวลาไปถึง และตารางเวลาอัพเดต

วิธีการเดินทางไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย รถไฟใต้ดิน?

คลิกที่สาย รถไฟใต้ดิน เพื่อดูวิธีการเดินทางเป็นขั้นตอนพร้อมแผนที่ สายรถ เวลาไปถึง และตารางเวลาอัพเดต

สถานี รถบัส ใกล้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใน Pathum Wan

  • ท่าปล่อยรถ จุฬาลงกรณ์ Chulalongkorn Bus Terminal,เดิน 3 นาที,
  • สถานเสาวภา Sathan Saowapha,เดิน 8 นาที,
  • จามจุรีสแควร์ Chamchuri Square,เดิน 11 นาที,

รถรถบัสไปยัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในPathum Wan

  • 16,อู่หมอชิต 2 - สุรวงศ์ Mochit 2 - Surawong,
  • 16 (ปอ.) (AC),อู่หมอชิต 2 - สุรวงศ์ Mochit 2 - Surawong,
  • 21,วัดคู่สร้าง - จุฬาลงกรณ์ Wat Kusang - Chulalongkorn,
  • 21 (ปอ.) (AC),วัดคู่สร้าง - จุฬาลงกรณ์ Wat Kusang - Chulalongkorn,
  • 141 (ปอ.) (AC),[ท] อู่แสมดำ - จุฬาลงกรณ์ [E] Samaedam - Chulalongkorn,
  • 4,ท่าน้ำภาษีเจริญ - ท่าเรือคลองเตย Phasi Charoen Pier - Bangkok Port (Klongtoey),
  • 45,สำโรง - สี่พระยา Samrong - Siphaya,
  • 46,ม.รามคำแหง 2 - รองเมือง Ramkhamhaeng University 2 - Rong Muang,
  • 47,ท่าเรือคลองเตย - กรมที่ดิน Khlong Toey - Department Of Lands,
  • 50,สะพานพระราม 7 - สวนลุมพินี RAMA VII Bridge - Lumphini Park,
  • 50 (ปอ.) (AC),สะพานพระราม 7 - สวนลุมพินี RAMA VII Bridge - Lumphini Park,
  • 67,วัดเสมียนนารี - เซ็นทรัลพระราม 3 Temple Samiennaree - Central Rama 3,
  • 4,ท่าปล่อยรถ ท่าเรือคลองเตย,
  • 4 (ปอ.) (AC),ท่าปล่อยรถ ท่าเรือคลองเตย,
  • 93,แยกสี่พระยา Si Phraya Intersection,
คำถามและคำตอบ
  • สถานีไหนเป็นสถานีที่ใกล้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มากที่สุด?

    สถานีที่ใกล้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มากที่สุด มีดังนี้:

    • ท่าปล่อยรถ จุฬาลงกรณ์ Chulalongkorn Bus Terminal อยู่ห่างไป 175 เมตร และใช้เวลาเดิน 3 นาที
    • สถานเสาวภา Sathan Saowapha อยู่ห่างไป 590 เมตร และใช้เวลาเดิน 8 นาที
    • จามจุรีสแควร์ Chamchuri Square อยู่ห่างไป 791 เมตร และใช้เวลาเดิน 11 นาที
  • จุดจอดสายไหน รถไฟใต้ดิน ที่อยู่ใกล้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย?

    จุดสายเหล่านี้ รถไฟใต้ดิน อยู่ใกล้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: สายเฉลิมรัชมงคล MRT BLUE LINE

  • จุดจอดสายไหน รถบัส ที่อยู่ใกล้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย?

    จุดสายเหล่านี้ รถบัส อยู่ใกล้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: 16 (ปอ.) (AC), 50

  • รถบัส หยุด ที่ใกล้กับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่สุดใน Pathum Wan คืออะไร?

    ป้่าย/สถานี หยุดรถบัสที่ใกล้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่สุดในPathum Wan คือ ท่าปล่อยรถ จุฬาลงกรณ์ Chulalongkorn Bus Terminal. โดยมันอยู่ห่างไป3 นาที

ดู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Pathum Wan, บนแผนที่

แอ็พเพื่อระบบขนส่งสาธารณะสำหรับเมืองที่ได้รับความนิยมที่สุดใน Pathum Wan.
ตัวเลือกการเดินทางระบบขนส่งท้องถิ่นในแอปเดียว

ระบบขนส่งสาธารณะที่ไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใน Pathum Wan

สงสัยว่าจะไปที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใน Pathum Wan ไทยได้อย่างไรใช่ไหม? Moovit ช่วยคุณค้นหาเส้นทางที่ดีที่สุดเพื่อไปยัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยวิธีการแบบเป็นขั้นตอนจากสถานีที่ใกล้ที่สุด.

Moovit มีแผนที่ฟรีและเส้นทางแบบถ่ายทอดสดที่ช่วยคุณนำทางไปยังสถานที่ต่างๆ ในเมือง คุณสามารถดูตารางเดินรถ เส้นทาง ตารางเวลา และค้นหาว่าใช้เวลานานเท่าไรที่จะเดินทางไปถึง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามเวลาจริง.

ต้องการหาจุดจอดหรือสถานีที่ใกล้ที่สุดที่จะไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยใช่ไหม? ลองดูรายการจุดจอดที่ใกล้ที่สุดเหล่านี้เพื่อไปยังจุดหมายปลางทางของคุณสิ: ท่าปล่อยรถ จุฬาลงกรณ์ Chulalongkorn Bus Terminal; สถานเสาวภา Sathan Saowapha; จามจุรีสแควร์ Chamchuri Square.

รถไฟใต้ดิน:รถบัส:

คุณอยากดูว่ามีเส้นทางอื่นที่ช่วยให้คุณไปถึงเร็วขึ้นไหม? Moovit ช่วยคุณค้นหาเส้นทางหรือเวลาอื่นๆ ที่เป็นทางเลือก ขอเส้นทางจากและเส้นทางไปถึง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อย่างง่ายดายจากแอพ Moovit หรือทางเว็บไซต์.

เราทำให้การเดินทางไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ง่ายขึ้น จึงเป็นเหตุผลว่าทำไมผู้ใช้มากกว่า 1.5 ล้านราย ซึ่งรวมไปถึงผู้ใช้ใน Pathum Wan จึงเชื่อมั่น Moovit ว่าเป็นแอพที่ดีที่สุดที่ให้ข้อมูลด้านขนส่งสาธารณะ คุณไม่จำเป็นต้องดาวน์โหลดแอพรถประจำทางหรือรถไฟของแต่ละบริษัท Moovit คือแอพขนส่งสาธารณะที่รวมทุกอย่างในหนึ่งเดียว และช่วยคุณค้นหาเวลาของรถบัสหรือรถไฟที่เหมาะสมที่สุดเพื่อคุณ.

สำหรับข้อมูลราคารถบัส และ รถไฟใต้ดิน, ค่าใช้จ่ายและค่าโดยสารในการเดินทางไปยังจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โปรดเช็คที่แอ็ปมูวิท

ใ้ช้แอ็ปเพื่อค้นหาสถานที่ยอดนิยมต่างๆ ได้แก่ สนามบิน, โรงพยาบาล, สนามกีฬา, ซุเปอร์มาร์เก็ต, ห้างสรรพสินค้า, ร้านกาแฟ, โรงเรียน และมหาวิทยาลัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่อยู่: ถนนจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนน อังรีดูนังต์ แขวง ปทุมวัน เขต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 ประเทศไทย ใน Pathum Wan

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Pathum Wan
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Pathum Wanจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือน" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งขึ้นภายในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2442 พร้อมทั้งพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญ "พระเกี้ยว" มาเป็นเครื่องหมายประจำโรงเรียน การดำเนินงานของโรงเรียนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับ จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 (นับแบบเก่า) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงประดิษฐานขึ้นเป็นมหาวิทยาลัย และพระราชทานนามว่า "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" เพื่อเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์เฉลิมพระเกียรติแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมชนกนาถของพระองค์ นับตั้งแต่ พ.ศ. 2460 ถึงปัจจุบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีผู้บัญชาการและอธิการบดีมาแล้ว 17 คน อธิการบดีคนปัจจุบัน คือ ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของประเทศไทยจากหลายสถาบันจัดอันดับ ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย คุณภาพด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของมหาวิทยาลัยในเขตเมือง และคุณภาพแยกตามรายวิชาอีก 27 รายวิชาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ จาก กระทรวงศึกษาธิการ ในปี พ.ศ. 2552 และได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาในระดับดีมากจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เป็นสมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN) และเป็นมหาวิทยาลัยเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยที่เป็นสมาชิกของสมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก (APRU) ในส่วนของการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษานั้นพบว่า ผู้สมัครสอบที่ทำคะแนนรวมสูงสุดในแต่ละปีส่วนใหญ่เลือกเข้าศึกษาต่อในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกที่ใช้คำว่า "นิสิต" เรียกผู้เข้าศึกษาในสังกัดของสถาบัน เพราะเมื่อแรกก่อตั้ง ที่ตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถือว่าอยู่ไกลจากเขตพระนครซึ่งเป็นศูนย์กลางความเจริญในขณะนั้น จึงมีการสร้างหอพักเพื่อให้ผู้เข้าศึกษาสามารถพักอาศัยในบริเวณมหาวิทยาลัยและใช้คำว่า "นิสิต" ในภาษาบาลีที่แปลว่า "ผู้อยู่อาศัย" เรียกผู้เข้าศึกษา ด้วยมีลักษณะเช่นเดียวกับการไปฝากตัวเป็นศิษย์และอยู่อาศัยกับสำนักอาจารย์ต่าง ๆ ของนักเรียนในระบบการศึกษาแบบโบราณ เช่น การฝากตัวเป็นศิษย์ที่สำนักของบาทหลวงหรือวิทยาลัยแบบอาศัยของมหาวิทยาลัยในยุโรป ส่วนในประเทศไทย นักเรียนจะไปฝากตัวที่วัดเป็นศิษย์ของพระภิกษุและอาศัยวัดเป็นสถานที่ศึกษา ด้วยเหตุนี้ มหาวิทยาลัยในประเทศอังกฤษจึงใช้คำว่า "Matriculated Student" ที่แปลว่า "นักศึกษาที่ได้รับเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยแล้ว" เรียกผู้เข้าศึกษา เช่นเดียวกับคำว่า "นิสิต" ทั้งนี้ ในอดีต โรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือนใช้คำว่า "นิสิต" เรียกผู้จบการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายและเรียนเพื่อสอบวิชาเป็นบัณฑิต แม้ว่าในปัจจุบันการคมนาคมจะสะดวกขึ้นอย่างมาก เขตปทุมวันซึ่งเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเปลี่ยนแปลงไปเป็นย่านธุรกิจการค้าใจกลางกรุงเทพมหานคร นิสิตไม่มีความจำเป็นต้องพักในหอพักนิสิตทุกคนอีกต่อไป แต่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยยังคงใช้คำว่า "นิสิต" เรียกผู้เข้าศึกษา เพื่อรำลึกถึงความเป็นมาของสถาบันเช่นเดิมเมื่อกล่าวถึงคำว่า "สามย่าน" สามารถอนุมานถึงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ เพราะอาณาเขตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยติดต่อกับสี่แยก 2 แห่ง คือแยกสามย่านและแยกปทุมวัน ทั้งสองแห่งเป็นพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของกรุงเทพมหานครและประเทศไทย เป็นที่ตั้งของอาคารสำนักงานขนาดใหญ่ สถาบันการเงิน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์และศูนย์การค้าหลายแห่ง จนกลายเป็นภาพลักษณ์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และใช้ในการแปรอักษรตอบโต้ ในงานงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ ที่จัดขึ้นทุกปีระหว่างสองมหาวิทยาลัยเก่าแก่ของประเทศไทยคือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติพิธีพระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกของประเทศไทยเกิดขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2473 ถือเป็นพิธีสำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีขึ้นครั้งแรกในประเทศ บุคคลสำคัญจากหลายสาขาอาชีพได้รับเชิญให้เข้าร่วมพิธีเป็นจำนวนมาก เช่น เอกอัครราชทูตจากนานาประเทศ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และตัวแทนองค์กรระหว่างประเทศ ในการนี้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีเสด็จพระราชดำเนินมาพระราชทานปริญญาบัตร ทำให้พิธีพระราชทานปริญญาบัตรเป็นการหน้าที่นั่งของพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์นับแต่นั้นเป็นต้นมา กล่าวคือหากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่สามารถเสด็จได้ ก็จะเป็นการถวายปฏิญญาต่อพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์และรับพระราชทานปริญญาบัตรจากผู้แทนพระองค์ ธรรมเนียมนี้ได้ใช้ปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ ในเวลาต่อมา ทั้งนี้ปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีผลทางกฎหมายก่อนที่จะมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2477 ถึง 4 ปี เพราะมีพระบรมราชโองการประดิษฐานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2459 เป็นกฎหมายที่ให้สิทธิและอำนาจอันชอบธรรมแก่มหาวิทยาลัย ในการประสาทปริญญาแก่นิสิตผู้สำเร็จการศึกษาอยู่ก่อนแล้วปัจจุบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประกอบไปด้วย 19 คณะวิชา 1 สำนักวิชา ครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ และมีหน่วยงานประเภท วิทยาลัย 3 แห่ง บัณฑิตวิทยาลัย 1 แห่ง สถาบัน 14 แห่ง และสถาบันสมทบอีก 2 สถาบัน จำนวนหลักสูตรรวมทั้งสิ้น 506 หลักสูตร ประกอบด้วย ระดับปริญญาตรี 113 หลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา 393 หลักสูตร ในจำนวนนี้เป็นหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรภาษาอังกฤษ 87 หลักสูตร
วิธีการเดินทางไปที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยระบบขนส่งสาธารณะ – เกี่ยวกับสถานที่

สถานที่น่าสนใจใกล้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สายรถสาธารณะที่มีสถานีใกล้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่สุดใน Pathum Wan

สาย รถบัสที่มีสถานีใกล้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่สุดใน Pathum Wan

เดินทางไปยัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ง่ายขึ้นใน…